ลิงก์น่าสนใจ
🗺️ PISA
🗺️ โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
🍁 โปรแกรมวิเคราะห์คุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย RTAP / คลีนิควิจัย มมส.
🍁 โปรแกรมสำหรับการวิเคราะห์ PNImodified เพื่อประเมินความต้องการจำเป็นและลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น
พัฒนาโดย ดร.วุฒิไกร ป้อมมะรัง
โปรแกรมการวิเคราะห์ PNImodified เป็นโปรแกรมเพื่อประเมินความต้องการจำเป็นซึ่งอยู่บนพื้นฐานของทฤษฎีการประเมินความต้องการจำเป็น (Needs Assessment Theory)
URL : https://statsmartly.com/Pop/PNI.php
แนะนำการใช้งาน : https://youtu.be/6mNBOG8sBto?si=qQGsjdiqSMoXqhqk
จุดเด่นที่สำคัญของโปรแกรม PNI Modified มีดังนี้
1. การคำนวณครบถ้วนและถูกต้องตามหลักสถิติ ทั้งค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ PNI Modified
2. ใช้งานง่าย สวยงาม และ responsive รองรับทุกอุปกรณ์
3. มีการแสดงผลการวิเคราะห์ที่ครบถ้วน พร้อมคำอธิบายและการแปลผลที่เข้าใจง่าย
4. รองรับการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ได้ (1-100 รายการ, 1-1000 ผู้ตอบ)
5. แสดงทฤษฎีและอ้างอิงทางวิชาการที่ชัดเจน เหมาะสำหรับงานวิจัยและการศึกษา
ติดต่อสอบถาม/ชี้แนะ : Email. statsmartly@gmail.com
หมายเหตุ : โปรแกรมสามารถใช้งานได้แบบ On Web โดยไม่ต้องติดตั้งลงในเครื่อง สามารถใช้ได้กับทุกอุปกรณ์ แต่จะตอบสนองได้ดีบนบราวเซอร์ google chrome โปรแกรมสามารถใช้งานฟรี (ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ) ผู้จัดทำหวังเพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์กับนักศึกษา นักวิจัยและผู้ที่สนใจ (ห้ามคัดลอกหรือดัดแปลงส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของโปรแกรม)
🍁 โปรแกรมสำหรับการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยด้วยสูตรของ Hsieh et al. (1998)
URL : https://statsmartly.com/Pop/Hsieh.php
พัฒนาโดย ดร.วุฒิไกร ป้อมมะรัง
สูตรของ Hsieh et al. ใช้สำหรับการคำนวณขนาดตัวอย่างในการวิจัยที่ต้องการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ซึ่ง Hsieh และคณะ (1998) ได้พัฒนาวิธีการคำนวณขนาดตัวอย่างที่มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงปัจจัยสำคัญ ได้แก่ ระดับนัยสำคัญ อำนาจการทดสอบ และขนาดความสัมพันธ์ที่คาดหวัง สูตรนี้มีข้อดีคือใช้งานง่าย มีความแม่นยำสูง และสามารถปรับใช้ได้ทั้งในการวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย ทำให้นักวิจัยสามารถวางแผนการเก็บข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพและประหยัดทรัพยากร
ติดต่อสอบถาม/ชี้แนะ : Email. statsmartly@gmail.com
หมายเหตุ : โปรแกรมสามารถใช้งานได้แบบ On Web โดยไม่ต้องติดตั้งลงในเครื่อง สามารถใช้ได้กับทุกอุปกรณ์ แต่จะตอบสนองได้ดีบนบราวเซอร์ google chrome โปรแกรมสามารถใช้งานฟรี (ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ) ผู้จัดทำหวังเพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์กับนักศึกษา นักวิจัยและผู้ที่สนใจ (ห้ามคัดลอกหรือดัดแปลงส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของโปรแกรม)
พัฒนาโดย ดร.วุฒิไกร ป้อมมะรัง
วัตถุประสงค์ของการพัฒนาโปรแกรมเพื่อสนับสนุนให้เกิดนวัตกรรมทางการศึกษาที่มีคุณภาพและเพื่อเป็นอีกหนึ่งทางเลือกให้นักวิจัยหรือผู้ที่สนใจนำไปใช้เป็นเครื่องมือประกอบการประเมินนวัตกรรมต่อไป
ในส่วนของโปรแกรมมีจำนวน 2 โปรแกรม ประกอบด้วย 1.โปรแกรมวิเคราะห์สำหรับการประเมินประสิทธิผลของนวัตกรรม (E.I) และ 2.โปรแกรมวิเคราะห์สำหรับการประเมินประสิทธิภาพ (E1/E2) ที่ใช้ในการวิจัย
1. โปรแกรมวิเคราะห์สำหรับการประเมินดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness Index Analysis : E.I.)
URL : https://statsmartly.com/statistical/EI.php
แนะนำการใช้งาน : https://youtu.be/p__fgoU0Spw?si=nRg6p0PBYgYJ-XLL
โปรแกรมวิเคราะห์ดัชนีประสิทธิผล (E.I.) นี้เป็นเครื่องมือที่ช่วยประเมินประสิทธิผลการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ แบ่งการทำงานออกเป็น 3 ขั้นตอนหลัก ได้แก่
1. กรอกข้อมูลเบื้องต้น (จำนวนนักเรียนและคะแนนเต็ม)
2. บันทึกคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนแต่ละคน
3. แสดงผลการวิเคราะห์ด้วยกราฟ ตาราง และคำอธิบายทางวิชาการ
หมายเหตุ : ให้ปรับคะแนนเต็มของทั้งคะแนนก่อนเรียนและคะแนนหลังเรียน ให้มีคะแนนเต็มเป็น 100 จะให้ผลการวิเคราะห์ได้ถูกต้องและแม่นยำ
จุดเด่นที่สำคัญ :
1. ออกแบบใช้งานง่าย
2. นำเสนอข้อมูลครบถ้วนและน่าสนใจ
3. มีการอธิบายทางวิชาการ
4. คำนวณและแสดงผลอย่างแม่นยำ
2. โปรแกรมวิเคราะห์สำหรับการประเมินประสิทธิภาพนวัตกรรม (E1/E2)
URL : https://statsmartly.com/statistical/EE.php
แนะนำการใช้งาน : https://youtu.be/cJrbGjgL4Nc?si=-d7p60k8KwmahHp7
หมายเหตุ : คะแนนแต่ละชุดของ E1 (Efficiency of Process) ให้ปรับคะแนนเต็ม 100/ชุด และคะแนนหลังเรียน E2 (Efficiency of Product) ให้ปรับคะแนนเต็ม 100 จะให้ผลวิเคราะห์ได้ถูกต้องและแม่นยำ
จุดเด่นที่สำคัญ :
1. คำนวณ E1/E2 แบบ Real-time
2. วิเคราะห์ค่าสถิติครบถ้วน (ค่าเฉลี่ย, S.D.)
3. แสดงกราฟวิเคราะห์แบบ Interactive
3. แปลผลและให้ข้อเสนอแนะอัตโนมัติ
4. มีคำอธิบายทางวิชาการ
5. แสดงสูตรการคำนวณและการอ้างอิงเอกสาร
ติดต่อสอบถาม/ชี้แนะ : Email. statsmartly@gmail.com
หมายเหตุ : โปรแกรมทั้งหมดสามารถใช้งานได้แบบ On Web โดยไม่ต้องติดตั้งลงในเครื่อง สามารถใช้ได้กับทุกอุปกรณ์ แต่จะตอบสนองได้ดีบนบราวเซอร์ google chrome ทุกโปรแกรมสามารถใช้งานฟรี (ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ) ผู้จัดทำหวังเพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์กับนักศึกษา นักวิจัยและผู้ที่สนใจ (ห้ามคัดลอกหรือดัดแปลงส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของโปรแกรม)
🍁 โปรแกรมสำหรับการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
พัฒนาโดย ดร.วุฒิไกร ป้อมมะรัง
โปรแกรมสำหรับการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 7 โปรแกรม ประกอบด้วย
1. โปรแกรมคำนวณขนาดตัวอย่างด้วยสูตรของ Cochran (1977) https://statsmartly.com/Pop/Cochran.php
2. โปรแกรมคำนวณขนาดตัวอย่างด้วยสูตรของ Krejcie & Morgan https://statsmartly.com/Pop/KM.php
3. โปรแกรมคำนวณขนาดตัวอย่างด้วยสูตรของ Taro Yamane https://statsmartly.com/Pop/Yamane.php
4. โปรแกรมคำนวณขนาดตัวอย่างด้วยสูตรของ Daniel (1999) https://statsmartly.com/Pop/Daniel.php
5. โปรแกรมคำนวณขนาดตัวอย่างด้วยสูตรของ Cohen (1988) https://statsmartly.com/Pop/Cohen.php
6. โปรแกรมคำนวณขนาดตัวอย่างด้วยสูตรของ บุญชม ศรีสะอาด https://statsmartly.com/Pop/formula.php
7. โปรแกรมคำนวณขนาดตัวอย่างด้วยสูตรของ Hsieh et al. (1998) https://statsmartly.com/Pop/Hsieh.php
ติดต่อสอบถาม/ชี้แนะ : Email. statsmartly@gmail.com
หมายเหตุ : โปรแกรมทั้งหมดสามารถใช้งานได้แบบ On Web โดยไม่ต้องติดตั้งลงในเครื่อง สามารถใช้ได้กับทุกอุปกรณ์ แต่จะตอบสนองได้ดีบนบราวเซอร์ google chrome ทุกโปรแกรมสามารถใช้งานฟรี (ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ) ผู้จัดทำหวังเพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์กับนักศึกษา นักวิจัยและผู้ที่สนใจ สำหรับการอ้างอิงให้อ้างอิงสูตรและเจ้าของสูตรตามที่ปรากฎในแต่ละโปรแกรมได้เลยครับ (ห้ามคัดลอกหรือดัดแปลงส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของโปรแกรม)
https://youtu.be/eZA_mCNu5lo?si=5y-3oZPD2kt5XtyM
🗺️ แหล่งเรียนรู้ Application
🍁 แหล่งเรียนรู้ Technology Integration
รวมเทคโนโลยีการศึกษา สนับสนุนการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล เพื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ให้ดียิ่งขึ้น
🗺️ สัมมนาออนไลน์น่าสนใจ
โครงการ upskill & reskil การสัมมนาเรื่อง “การใช้ Gen Ai สร้างนวัตกรรมเพื่อการเลื่อนวิทยฐานะตามหลักเกณฑ์ วPA” วิทยากรโดย รศ.ดร.มนตรี แย้มกสิกร และ รศ.ดร.เอกนฤน บางท่าไม้ /
หากไม่เห็นอะไรที่ด้านบน ตรวจสอบสิทธิ์อีกครั้ง
โครงการสัมมนาออนไลน์ นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ประจำปี 2568 เรื่อง AI ผู้ช่วยการวิจัย และพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้สำหรับครูยุคดิจิทัล